อันตรายจากหมึกปากกา ที่ควรรู้ !

9 ก.พ. 61 09:22 น. / ดู 901 ครั้ง / 0 ความเห็น / 1 ชอบจัง / แชร์
ทุกคนได้ใช้กันอยู่แทบทุกวันแต่อาจไม่รู้เลยว่าอันตรายจาก หมึกปากกา มีมากน้อยแค่ไหน ในส่วนผู้บริโภคอย่างเราก็อาจจะโดนผลกระทบจาก หมึกปากกา น้อยกว่า โรงงานที่มีหมึกมาเกี่ยวข้อง เช่น โรงงานผลิตปากกา โรงงานผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ หรือ อู่พ่นสีรถยนต์
หมึกปากกา หมึกทั่วไป จะมีส่วนประกอบ 3 ส่วนคือ

ส่วนที่ 1     Solvents ( ตัวทำละลาย ) โดยส่วนใหญ่จะเปลี่ยนมาใช้เป็น  Alcohol , IPA , Ethylene Glycol แทน สาร dimethylbenzene ซึ่งเป็นสารอันตราย



ส่วนที่ 2    ink colorants ( สี ) เป็นสีผสมกับตัวทำลาย  ส่วนที่ 1  ยกตัวอย่าง สีนํ้าเงิน เรียกว่า  CRYSTAL VIOLET ส่วนสีแดง เรียกว่า EOSIN Y



ส่วนที่ 3    Binders  ( กาว ) ตัวที่ทำให้ยึดติดกับวัตถุต่างๆ เช่น กระดาษ  ถ้า ปากกาที่ลบไม่ออก ที่เรียกว่า PERMANENT จะใช้  Polymer Acrylic จะติดทน    ส่วน ปากกาเคมีทั่วไป จะใช้ Polymer Silicone ทำให้เกิดชั้นฟิมล์บางๆ

 

แล้วหมึกปากกา มันจะส่งผลต่อร่างกายไหม ?  ไปดูกันเลย !!

#ส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง

สารในหมึก มีผลต่อระบบส่วนกลาง ทำให้ วิตกกังวล , เกิดสภาวะอ่อนแอ , ซึมเศร้า , วิงเวียนปวดหัว ส่งผลกระทบเกี่ยวกับนอนหลับ.



#ส่งผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน

ระบบภูมิคุ้มกันถูกทำลาย การป้องกันตํ่งลง



#ส่งผลต่อระบบสุขภาพ

หากสูดดมเป็นเวลานานจะส่งผลต่อการสร้างเม็ดเลือด ขาว-แดง


เสี่ยงต่อโรค

– โรคโลหิตจาง
– ไตเสื่อม
– มะเร็งไขกระดูก
– หัวใจเต้นผิดปกติ
– อาการทางประสาท
– ตับแข็ง , ตับเสื่อม



สรุป  ควรหลีกเลี่ยง หมึกปากกา ที่มีสาร Dimethybenzene  สูดดมเป็นเวลานานๆ มีผลต่อร่างกาย  แล้วจะรู้ได้ยังไงหละ ! ว่าปากกา อันไหน มีสาร Dimethybenzene  ก็  ปากกาเขียนไวท์บอร์ด  นั้นละ!
หากรับประทานหมึกปากกา เกิด 28 mg อาจทำให้ระบบทางเดินอาหารระคายเคือง มีการขับนํ้าลายออกมาเยอะ , อาเจียน ,คลื่นไส้, เบื่ออาหาร

และ อาจจะเกิดสภาวะตับอักเสบชนิดผันกลับได้


ขอขอบพระคุณที่อ่านบทความจบนะคะ  สามารถแชร์ และ ติดตามบทความอื่นได้ที่

Facebook :  https://www.facebook.com/klynethailand
Website : https://www.klynethailand.com

b]นํ้ายาทำความสะอาดคราบหมึกและคราบหนัก
แก้ไขล่าสุด 9 ก.พ. 61 09:29 | เลขไอพี : ไม่แสดง | ตั้งกระทู้โดย Windows 8.1

อ่านต่อ คุณอาจจะสนใจเนื้อหาเหล่านี้ (ความคิดเห็นกระทู้ อยู่ด้านล่าง)

ความคิดเห็น

ยังไม่มีความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

จะต้องเป็นสมาชิกจึงจะแสดงความคิดเห็นได้
เป็นสมาชิกอยู่แล้ว ลงชื่อเข้าใช้ระบบ
ยังไม่ได้เป็นสมาชิก สมัครสมาชิกใหม่
หรือจะลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google หรือ Facebook ก็ได้
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Facebook
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google