ปัญหาหลอดพลาสติก จากโลกศิวิไลซ์สู่เมืองแห่งมลพิษที่ต้องระวัง
19 ธ.ค. 65 16:38 น. /
ดู 11,313 ครั้ง /
2 ความเห็น /
0 ชอบจัง
/
แชร์
ความศิวิไลซ์ในยุคสมัยใหม่มักจะเน้นความสะดวกสบายเป็นหลัก ของใช้ที่ฉีกง่าย ใช้คล่อง แกะแล้วทิ้ง หนึ่งในนั้นก็คือหลอดพลาสติก ร้านกาแฟสุดชิคมีการใช้หลอดพลาสติกในแก้วสวยหรูนับพันแก้วต่อวัน หลอดพลาสติกยังนำมาใช้ในโอกาสอื่น ๆ อีกมากมายนับไม่ถ้วน ก่อให้เกิด ปัญหาหลอดพลาสติกจากไมโล ที่สร้างมลพิษต่อโลกและสิ่งแวดล้อมอย่างน่าวิตก ทำไมหลอดพลาสติกจึงสร้างปัญหาทั้ง ๆ ที่ปัจจุบันมีนวัตกรรมการรีไซเคิลเข้ามาช่วยกู้โลก
เพราะหลอดพลาสติกมีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา เข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้ยาก และยังสามารถเล็ดลอดไปในที่ต่าง ๆ ได้ง่าย กลายเป็นขยะตกค้างและส่วนหนึ่งได้ถูกพัดพาลงทะเล มีการสำรวจพบว่าหลอดพลาสติกติดอันดับ 1 ใน 3 ของขยะที่พบมากที่สุดในทะเล
ไมโครพลาสติก ผลกระทบ จากหลอดพลาสติกที่ตกค้างในทะเลและสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดเป็นอนุภาคขนาดเล็กที่วนเวียนอยู่ในระบบนิเวศเต็มไปหมด เพราะใช้เวลาย่อยสลายยาวนานเป็นร้อยปี เป็นอันตรายต่อสัตว์และสิ่งมีชีวิต เพราะอนุภาคเหล่านี้เข้าไปปะปนอยู่ในอาหารของสัตว์และพืชพรรณทั้งหลาย เมื่อกลืนกินเข้าไปจึงทำลายสุขภาพสัตว์ เชื่อมโยงมาถึงคนเราทุกคนที่บริโภคสัตว์และพืชเป็นอาหาร
เมื่อหลอดพลาสติกไม่อาจกำจัดได้ด้วยการรีไซเคิล ทางออกที่ดีกว่าคือลดปริมาณการใช้หลอดพลาสติก หรือถ้าจะให้ดีที่สุดคือเลิกใช้หลอดชนิดนี้ เพื่อลดสิ่งตกค้างที่เป็น ไมโครพลาสติก แล้วเปลี่ยนมาเป็นหลอดจากวัสดุอื่นที่ไม่ทำร้ายระบบนิเวศ เรามาดูกันว่าหลอดดูดน้ำเพื่อสิ่งแวดล้อมมีประเภทใดบ้าง
หลอดกระดาษ ย่อยสลายได้ง่ายกว่า มีผู้ผลิตสินค้าประเภทเครื่องดื่มหันมาใช้หลอดกระดาษ โดย ไมโล เป็นผลิตภัณฑ์นมยูเอชทีรายแรกที่ใช้หลอดกระดาษซึ่งผลิตขึ้นจากเทคโนโลยีพิเศษ เป็นเอกสิทธิ์เฉพาะของไมโลเท่านั้น และเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากลจาก Forest Stewardship Council (FSC) ช่วยแก้ ปัญหาหลอดพลาสติกจากไมโล ได้เป็นอย่างดี
หลอดไม้ไผ่ ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม เพราะไม้ไผ่สามารถทำความสะอาดแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้หลายครั้ง
หลอดข้าว สามารถใช้ซ้ำได้ และเมื่อทิ้งแล้วก็สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติได้เองไม่ต้องพึ่งกระบวนการใด ๆ
หลอดโลหะ อายุการใช้งานยาวนาน เพราะโลหะเป็นวัสดุที่ทนทาน สามารถล้างทำความสะอาดแล้วเก็บไว้ใช้ได้หลายปี
ยังมีวัสดุอีกหลายชนิดที่สามารถนำมาใช้ทำหลอดดูดน้ำได้ หากเราทุกคนเลือกที่จะใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุก ๆ วัน จะช่วยลดผลกระทบจาก ไมโครพลาสติก ลงได้มาก ความศิวิไลซ์จะกลับมาอีกครั้ง แม้จะยังไม่ถึงกับบริสุทธิ์ 100% แต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีเพื่อโลกของเรา
ไมโครพลาสติก ผลกระทบ จากหลอดพลาสติกที่ตกค้างในทะเลและสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดเป็นอนุภาคขนาดเล็กที่วนเวียนอยู่ในระบบนิเวศเต็มไปหมด เพราะใช้เวลาย่อยสลายยาวนานเป็นร้อยปี เป็นอันตรายต่อสัตว์และสิ่งมีชีวิต เพราะอนุภาคเหล่านี้เข้าไปปะปนอยู่ในอาหารของสัตว์และพืชพรรณทั้งหลาย เมื่อกลืนกินเข้าไปจึงทำลายสุขภาพสัตว์ เชื่อมโยงมาถึงคนเราทุกคนที่บริโภคสัตว์และพืชเป็นอาหาร
เมื่อหลอดพลาสติกไม่อาจกำจัดได้ด้วยการรีไซเคิล ทางออกที่ดีกว่าคือลดปริมาณการใช้หลอดพลาสติก หรือถ้าจะให้ดีที่สุดคือเลิกใช้หลอดชนิดนี้ เพื่อลดสิ่งตกค้างที่เป็น ไมโครพลาสติก แล้วเปลี่ยนมาเป็นหลอดจากวัสดุอื่นที่ไม่ทำร้ายระบบนิเวศ เรามาดูกันว่าหลอดดูดน้ำเพื่อสิ่งแวดล้อมมีประเภทใดบ้าง
หลอดกระดาษ ย่อยสลายได้ง่ายกว่า มีผู้ผลิตสินค้าประเภทเครื่องดื่มหันมาใช้หลอดกระดาษ โดย ไมโล เป็นผลิตภัณฑ์นมยูเอชทีรายแรกที่ใช้หลอดกระดาษซึ่งผลิตขึ้นจากเทคโนโลยีพิเศษ เป็นเอกสิทธิ์เฉพาะของไมโลเท่านั้น และเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากลจาก Forest Stewardship Council (FSC) ช่วยแก้ ปัญหาหลอดพลาสติกจากไมโล ได้เป็นอย่างดี
หลอดไม้ไผ่ ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม เพราะไม้ไผ่สามารถทำความสะอาดแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้หลายครั้ง
หลอดข้าว สามารถใช้ซ้ำได้ และเมื่อทิ้งแล้วก็สามารถย่อยสลายตามธรรมชาติได้เองไม่ต้องพึ่งกระบวนการใด ๆ
หลอดโลหะ อายุการใช้งานยาวนาน เพราะโลหะเป็นวัสดุที่ทนทาน สามารถล้างทำความสะอาดแล้วเก็บไว้ใช้ได้หลายปี
ยังมีวัสดุอีกหลายชนิดที่สามารถนำมาใช้ทำหลอดดูดน้ำได้ หากเราทุกคนเลือกที่จะใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุก ๆ วัน จะช่วยลดผลกระทบจาก ไมโครพลาสติก ลงได้มาก ความศิวิไลซ์จะกลับมาอีกครั้ง แม้จะยังไม่ถึงกับบริสุทธิ์ 100% แต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีเพื่อโลกของเรา
เลขไอพี : ไม่แสดง
| ตั้งกระทู้โดย Windows 10
อ่านต่อ คุณอาจจะสนใจเนื้อหาเหล่านี้ (ความคิดเห็นกระทู้ อยู่ด้านล่าง)
ความคิดเห็น
จะต้องเป็นสมาชิกจึงจะแสดงความคิดเห็นได้
เป็นสมาชิกอยู่แล้ว ลงชื่อเข้าใช้ระบบ
ยังไม่ได้เป็นสมาชิก สมัครสมาชิกใหม่
หรือจะลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google หรือ Facebook ก็ได้
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Facebook
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google
เป็นสมาชิกอยู่แล้ว ลงชื่อเข้าใช้ระบบ
ยังไม่ได้เป็นสมาชิก สมัครสมาชิกใหม่
หรือจะลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google หรือ Facebook ก็ได้
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Facebook
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google