เซ้นต์ แท็กมือ เบ็คกี้ ฟรีน ไปนั่งถกพูดคุยแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจจริงที่จะผลักดันคอมมูนิตี้ LGBTQ+
18 ก.พ. 66 18:02 น. /
ดู 13,026 ครั้ง /
1 ความเห็น /
0 ชอบจัง
/
แชร์

เป็นไลฟ์ที่ได้เห็นมุมมองและทัศนคติที่ทำให้เห็นถึงความตั้งใจที่จะขับเคลื่อนคอมมูนิตี้ LGBTQ+
แบบไม่ได้ทำให้เห็นว่านำอัตลักษณ์ทางเพศมาทำการตลาดหรือว่า Queerbaiting อย่างเดียว
สำหรับบอสใหญ่ของ Idol Factory เซ้นต์ ศุภพงษ์ ที่ได้พา 2 สาว ฟรีน เบ็คกี้ มาร่วมถกพูดคุย
กันถึงความหลากหลายทางเพศสภาพเชิงวิชาการร่วมกับ ชีวิน Copy A Bangkok ในไลฟ์ของ QueerFanTHasia
An Inter-Asia Cultural Perspective on Thai Y-Series

อย่างที่ฟรีนเบ็คกี้ถูกถามว่าคิดเห็นอย่างไรกับความหลากหลายทางเพศสภาพของกลุ่มหญิงรักหญิง
เช่น ทอมดี้ ใคร**ใครเมีย ซึ่งฟรีนเป็นตัวแทนตอบในท็อปปิกนี้ว่า ณ ช่วงเวลานี้ ฟรีนมองว่ามันคือความรักทั้งหมด ไม่จำเป็นที่จะต้องมาจำกัดว่า
ใครเป็นอะไร เรารักในการเป็นตัวเอง Respect การเป็นเขาและเป็นตัวเองแค่นั้นพอเลยค่ะ

หรืออย่างการที่จะทำให้นักแสดงนำทั้งสองสะดวกใจในการเข้าฉากเลิฟซีน ทีมงานในกองมีผลอะไรไหมในการถ่ายทำ
ประเด็นนี้ฟรีนบอกว่า เราสบายใจอยู่แล้ว และเรา Respect พี่ๆ เขาด้วย ถ้าไม่มีทีมไฟไม่มีพี่ๆ ตากล้อง
ไม่มีทีมวอยซ์หรือคอสตูมเราก็จะไม่เกิดเป็นซีรีส์ขึ้นมาให้ทุกคนเห็น เราไม่ได้รู้สึกไม่ปลอดภัยหรือไม่เซฟ ณ ช่วงเวลานั้น เราเป็นตัวละครที่พยายามสื่อความรู้สึกเพื่อการถ่ายทำและเราก็ต้องทำงาน และทุกๆ คนก็กำลังทำงานเพื่อให้ซีรส์โกออน ซึ่งประเด็นนี้เบ็คกี้ก็ตอบและเห็นด้วยในแบบเดียวกัน ส่วนผู้จัดก็ขอพูดถึงในมุมเบื้องหลัง เลิฟซีนเราจะต้องให้คนที่อยู่ในห้องน้อยที่สุด ทีมไฟจัดเสร็จก็ต้อง Take ตัวเอง
ออกมาเหลือเพียงไม่กี่คนที่ต้องไว้แก้ไขเฉพาะหน้าตรงนั้น เราพยายามเซฟน้องให้น้อยที่สุด หรือมีมุมที่น้องรู้สึกไม่เซฟ
ไม่ปลอดภัย ตากล้องก็ต้องเปลี่ยนมุมให้น้องแม้แต่ผู้กำกับจะไม่มีใครปล่อยมาเลยให้ซีนนี้ทำให้น้องรู้สึกว่าไม่ปลอดภัย
หรือบางทีมันจิตวิทยาเลย ถ้าหน้าน้องๆ เริ่มไม่โอเคแล้วไม่กล้าพูด เราต้องกล้าเข้าไปคุยกับน้อง ว่าไม่โอเคอะไร ซีนนี้ไม่ต้องถ่ายต่อ ซีนนี้คือจบไม่มีการฝืน

นอกจากนี้ยังมี Speaker ที่เป็นคนในคอมมูมาร่วมถามในประเด็นต่างๆ อย่างอะไรที่ทำให้ตัดสินใจรับบท
สาม-ม่อน และมันจะช่วยส่งเสริมอะไร หรือมองว่าเป็นแค่จ๊อบนึง?
ฟรีน: ตอนที่จะได้รับเล่นบทคุณสาม เรามองว่ามันเป็นซีรีส์ Normally เรามองคนเป็นมนุษย์
หนึ่งคนที่สามารถมีความรู้สึกได้ ณ ช่วงเวลานั้นรู้สึกแค่ว่าเราจะถ่ายทอดความรู้สึกรักของสองคนยังไงดีให้ทุกคนได้เห็นและจดจำในฉบับของสามและก็ม่อน
เบ็คกี้: ก็เปิดกว้างสำหรับทุกโอกาสทีไ่ด้รับถึงแรกๆ จะกังวลเรื่องภาษาอยู่บ้าง
แต่ก็ขอสักตั้งทำให้มันดีที่สุด และเมื่อได้ลองอ่านเรื่องราวความรักของสามและม่อน ก็ตกหลุมรักคาแร็กเตอร์
ของทั้งสองตัวละครทันที โมเมนต์นั้นก็รอไม่ไหวที่จะโชว์ให้โลกเห็นถึงความรักที่สวยงามของพวกเขา

ส่วนการที่ Idol Factory ได้ผลิตคอนเทนต์ลงในสื่อกระแสหลักอย่างช่อง 3
บอสเซ้นต์มองว่า เป็นช่องใหญ่เป็นแพลตฟอร์มหนึ่งที่ทุกๆ คน ในประเทศไทยรู้จักหรือดู
พอไปอยู่ในแพลตฟอร์มนี้ทำให้หลายๆ คนรู้จัก GAP The Series มากขึ้น เจตนาของเราก็อยากให้ GAP เป็น
Soft Power ผลักดันในเรื่อง GL หรือ LGBTQ+ และเมื่อประสบความสำเร็จ ก็จะเห็นว่ามีอีกหลายๆ โปรเจ็กต์กำลังจะตามมา ทำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอุตสาหกรรมบันเทิง

การผลิต GL ซีรีส์มีความยากหรือแตกต่างยังไงในซีรีส์ BL อย่างคุณชีวินที่ผ่านการกำกับซีรีส์วาย BL
มาตั้งแต่ยุคบุกเบิก การได้มากำกับ GL และค่อนข้างยาก อยากให้คนดูและสังคมเรียนรู้ไปพร้อมกัน ส่วนเซ้นต์แน่นอนช่วงแรกที่มี Pilot ปล่อยออกมาและมีประเด็นถึงความไม่เหมาะสม เจ้าตัวก็บอกว่า
เราก็มีการลองถูกลองผิด เอาจริงมันก็ยากมาก ก่อนฟิตติ้งจริงๆ เราก็รีเสิร์ชเยอะและลองดูฟีดแบ็กคนที่อยู่ในคอมมู
ที่มาคอมเมนต์เราก็พยายามปรับตามเพราะเราอยากจะผลักดันสร้างสรรค์สังคม สิ่งสำคัญคือเราต้องฟังจริงๆ ไม่ใช่แค่คิดเองทำเองตัดสินใจเองมันจะออกมาไม่ใช่การสนับสนุนมันจะออกมาเป็นแค่อยากจะทำ แต่เราใช้คำว่าอยากจะทำและพร้อมจะพัฒนาไปด้วยกัน
มาวันนี้ซีรีส์ได้เป็นส่วนหนึ่งและเป็นที่ประจักษ์ในการสร้างสรรค์สังคมสมความตั้งใจแล้วนะ
ทุกคนที่ส่วนเกี่ยวข้องเก่งมากๆ🏳️🌈


#เซ้นต์ศุภพงษ์ #ฟรีนสโรชา #เบ็คกี้รีเบคก้า
แบบไม่ได้ทำให้เห็นว่านำอัตลักษณ์ทางเพศมาทำการตลาดหรือว่า Queerbaiting อย่างเดียว
สำหรับบอสใหญ่ของ Idol Factory เซ้นต์ ศุภพงษ์ ที่ได้พา 2 สาว ฟรีน เบ็คกี้ มาร่วมถกพูดคุย
กันถึงความหลากหลายทางเพศสภาพเชิงวิชาการร่วมกับ ชีวิน Copy A Bangkok ในไลฟ์ของ QueerFanTHasia
An Inter-Asia Cultural Perspective on Thai Y-Series

อย่างที่ฟรีนเบ็คกี้ถูกถามว่าคิดเห็นอย่างไรกับความหลากหลายทางเพศสภาพของกลุ่มหญิงรักหญิง
เช่น ทอมดี้ ใคร**ใครเมีย ซึ่งฟรีนเป็นตัวแทนตอบในท็อปปิกนี้ว่า ณ ช่วงเวลานี้ ฟรีนมองว่ามันคือความรักทั้งหมด ไม่จำเป็นที่จะต้องมาจำกัดว่า
ใครเป็นอะไร เรารักในการเป็นตัวเอง Respect การเป็นเขาและเป็นตัวเองแค่นั้นพอเลยค่ะ

หรืออย่างการที่จะทำให้นักแสดงนำทั้งสองสะดวกใจในการเข้าฉากเลิฟซีน ทีมงานในกองมีผลอะไรไหมในการถ่ายทำ
ประเด็นนี้ฟรีนบอกว่า เราสบายใจอยู่แล้ว และเรา Respect พี่ๆ เขาด้วย ถ้าไม่มีทีมไฟไม่มีพี่ๆ ตากล้อง
ไม่มีทีมวอยซ์หรือคอสตูมเราก็จะไม่เกิดเป็นซีรีส์ขึ้นมาให้ทุกคนเห็น เราไม่ได้รู้สึกไม่ปลอดภัยหรือไม่เซฟ ณ ช่วงเวลานั้น เราเป็นตัวละครที่พยายามสื่อความรู้สึกเพื่อการถ่ายทำและเราก็ต้องทำงาน และทุกๆ คนก็กำลังทำงานเพื่อให้ซีรส์โกออน ซึ่งประเด็นนี้เบ็คกี้ก็ตอบและเห็นด้วยในแบบเดียวกัน ส่วนผู้จัดก็ขอพูดถึงในมุมเบื้องหลัง เลิฟซีนเราจะต้องให้คนที่อยู่ในห้องน้อยที่สุด ทีมไฟจัดเสร็จก็ต้อง Take ตัวเอง
ออกมาเหลือเพียงไม่กี่คนที่ต้องไว้แก้ไขเฉพาะหน้าตรงนั้น เราพยายามเซฟน้องให้น้อยที่สุด หรือมีมุมที่น้องรู้สึกไม่เซฟ
ไม่ปลอดภัย ตากล้องก็ต้องเปลี่ยนมุมให้น้องแม้แต่ผู้กำกับจะไม่มีใครปล่อยมาเลยให้ซีนนี้ทำให้น้องรู้สึกว่าไม่ปลอดภัย
หรือบางทีมันจิตวิทยาเลย ถ้าหน้าน้องๆ เริ่มไม่โอเคแล้วไม่กล้าพูด เราต้องกล้าเข้าไปคุยกับน้อง ว่าไม่โอเคอะไร ซีนนี้ไม่ต้องถ่ายต่อ ซีนนี้คือจบไม่มีการฝืน

นอกจากนี้ยังมี Speaker ที่เป็นคนในคอมมูมาร่วมถามในประเด็นต่างๆ อย่างอะไรที่ทำให้ตัดสินใจรับบท
สาม-ม่อน และมันจะช่วยส่งเสริมอะไร หรือมองว่าเป็นแค่จ๊อบนึง?
ฟรีน: ตอนที่จะได้รับเล่นบทคุณสาม เรามองว่ามันเป็นซีรีส์ Normally เรามองคนเป็นมนุษย์
หนึ่งคนที่สามารถมีความรู้สึกได้ ณ ช่วงเวลานั้นรู้สึกแค่ว่าเราจะถ่ายทอดความรู้สึกรักของสองคนยังไงดีให้ทุกคนได้เห็นและจดจำในฉบับของสามและก็ม่อน
เบ็คกี้: ก็เปิดกว้างสำหรับทุกโอกาสทีไ่ด้รับถึงแรกๆ จะกังวลเรื่องภาษาอยู่บ้าง
แต่ก็ขอสักตั้งทำให้มันดีที่สุด และเมื่อได้ลองอ่านเรื่องราวความรักของสามและม่อน ก็ตกหลุมรักคาแร็กเตอร์
ของทั้งสองตัวละครทันที โมเมนต์นั้นก็รอไม่ไหวที่จะโชว์ให้โลกเห็นถึงความรักที่สวยงามของพวกเขา

ส่วนการที่ Idol Factory ได้ผลิตคอนเทนต์ลงในสื่อกระแสหลักอย่างช่อง 3
บอสเซ้นต์มองว่า เป็นช่องใหญ่เป็นแพลตฟอร์มหนึ่งที่ทุกๆ คน ในประเทศไทยรู้จักหรือดู
พอไปอยู่ในแพลตฟอร์มนี้ทำให้หลายๆ คนรู้จัก GAP The Series มากขึ้น เจตนาของเราก็อยากให้ GAP เป็น
Soft Power ผลักดันในเรื่อง GL หรือ LGBTQ+ และเมื่อประสบความสำเร็จ ก็จะเห็นว่ามีอีกหลายๆ โปรเจ็กต์กำลังจะตามมา ทำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอุตสาหกรรมบันเทิง

การผลิต GL ซีรีส์มีความยากหรือแตกต่างยังไงในซีรีส์ BL อย่างคุณชีวินที่ผ่านการกำกับซีรีส์วาย BL
มาตั้งแต่ยุคบุกเบิก การได้มากำกับ GL และค่อนข้างยาก อยากให้คนดูและสังคมเรียนรู้ไปพร้อมกัน ส่วนเซ้นต์แน่นอนช่วงแรกที่มี Pilot ปล่อยออกมาและมีประเด็นถึงความไม่เหมาะสม เจ้าตัวก็บอกว่า
เราก็มีการลองถูกลองผิด เอาจริงมันก็ยากมาก ก่อนฟิตติ้งจริงๆ เราก็รีเสิร์ชเยอะและลองดูฟีดแบ็กคนที่อยู่ในคอมมู
ที่มาคอมเมนต์เราก็พยายามปรับตามเพราะเราอยากจะผลักดันสร้างสรรค์สังคม สิ่งสำคัญคือเราต้องฟังจริงๆ ไม่ใช่แค่คิดเองทำเองตัดสินใจเองมันจะออกมาไม่ใช่การสนับสนุนมันจะออกมาเป็นแค่อยากจะทำ แต่เราใช้คำว่าอยากจะทำและพร้อมจะพัฒนาไปด้วยกัน
มาวันนี้ซีรีส์ได้เป็นส่วนหนึ่งและเป็นที่ประจักษ์ในการสร้างสรรค์สังคมสมความตั้งใจแล้วนะ
ทุกคนที่ส่วนเกี่ยวข้องเก่งมากๆ🏳️🌈


#เซ้นต์ศุภพงษ์ #ฟรีนสโรชา #เบ็คกี้รีเบคก้า
ขอบคุณภาพและคลิปจาก
@QueerFanTHasia
แก้ไขล่าสุด 18 ก.พ. 66 21:02 |
เลขไอพี : ไม่แสดง
| ตั้งกระทู้โดย Windows 10
อ่านต่อ คุณอาจจะสนใจเนื้อหาเหล่านี้ (ความคิดเห็นกระทู้ อยู่ด้านล่าง)
ความคิดเห็น
จะต้องเป็นสมาชิกจึงจะแสดงความคิดเห็นได้
เป็นสมาชิกอยู่แล้ว ลงชื่อเข้าใช้ระบบ
ยังไม่ได้เป็นสมาชิก สมัครสมาชิกใหม่
หรือจะลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google หรือ Facebook ก็ได้
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Facebook
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google
เป็นสมาชิกอยู่แล้ว ลงชื่อเข้าใช้ระบบ
ยังไม่ได้เป็นสมาชิก สมัครสมาชิกใหม่
หรือจะลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google หรือ Facebook ก็ได้
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Facebook
ลงชื่อเข้าใช้ระบบด้วย Google